ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
http://www.thaifreedompress.blogspot.com/http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.media4democracy.com/th/ http://www.youngtelecom.org/http://www.logex.kmutt.ac.th/ http://www.mict4u.net/thai/ http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htmhttp://www.agkmstou.com/2008/index.phphttp://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm เสวนา : สิทธิทางเพศ และ สุขภาวะทางเพศ | กำหนดการเรื่อง “สิทธิทางเพศ” และ “สุขภาวะทางเพศ” ของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ประเด็นพิจารณาจากร่างแก้ไขกฎกระทรวงกลาโหม กรณี บันทึกผลการตรวจเลือกทหารกองเกิน(เอกสาร สด.43)”
วันอังคารที่ 27 ตุลาคม 2552 เวลา 08.30-16.30 น.ณ ห้อง 222 ชั้น 2 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ จัดโดย มูลนิธิธีรนาถ กาญจนอักษรร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และ เครือข่ายความหลากหลายทางเพศ
สนับสนุนโดย แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะทางเพศ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง(สคส.) ช่วงเช้า
08.30-09.00 น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร/รับประทานอาหารว่าง 09.00-09.10 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์
โดย นัยนา สุภาพึ่ง ผู้อำนวยการมูลนิธิธีรนาถ กาญจนอักษร
09.10-10.15 น. กล่าวเปิดการเสวนา โดย ศ.ดร.อมรา พงศาพิชญ์ ประธานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 09.15-11.30 น. เสวนา “สิทธิทางเพศ” และ “สุขภาวะทางเพศ” ของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ประเด็นพิจารณาจาก ร่างแก้ไขกฎกระทรวงกลาโหมฉบับที่ 47(พ.ศ.2518) ข้อ 12 “ความผิดปกติ” ในการรับรู้หรือยอมรับเพศทางร่างกายของตนเอง มีลักษณะที่คณะกรรมการตรวจเลือกเห็นว่าไม่ควรเป็นทหารกองประจำการ โดย - บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศและได้รับผลกระทบจากบันทึกผลการตรวจเลือกทหารกองเกิน(สด.43) - คณะทำงานเครือข่ายความหลากหลายทางเพศ ประกอบด้วยโครงการเพื่อชายรุ่นใหม่ใส่ใจสุขภาพ(เอ็มพลัส) จ.เชียงใหม่ สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย ศูนย์ซิสเตอร์ พัทยา กลุ่มเสาร์ซาวเอ็ด จ.เชียงใหม่ กลุ่มสะพาน -นพ.พนม เกตุมาน คณะจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล -นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ที่ปรึกษากรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข -นพ.สุกมล วิภาวีพลกุ จิตแพทย์ ดำเนินรายการโดย พงศธร จันทร์เลื่อน ผู้ประสานงานโครงการเพื่อชายรุ่นใหม่ใส่ใจสุขภาพ(เอ็มพลัส))
11.30-12.00 น. สรุปข้อเสนอจากการเสวนาเพื่อนำเสนอในการเสวนาช่วงบ่าย
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ช่วงบ่าย 13.00-16.00 น. เสวนา“ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะต่อร่างแก้ไขกฎกระทรวงกลาโหมฉบับ ที่47 (พ.ศ.2518) เพื่อคำนึงถึง“สิทธิทางเพศ” และ“สุขภาวะทางเพศ”ของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ” สิทธิทางเพศ”และ “สุขภาวะทางเพศ”ของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ บทสรุปจากช่วงเช้า โดย สิทธิพันธ์ บุญญาภิสมภาร อุปนายกสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
หลักการนำเสนอแก้ไขกฏกระทรวงกลาโหม ฉบับที่ 47 (พ.ศ.2518)
นำเสวนาโดย ผู้แทนกระทรวงกลาโหม
หลักการพิจารณาถ้อยคำและข้อกฎหมายในร่างแก้ไขกฎกระทรวงกลาโหม ฉบับที่ 47 (พ.ศ.2518) นำเสวนาโดย ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สิทธิมนุษยชนของบุคคลที่ความหลากหลายทางเพศตามรัฐธรรมนูญ และตามมาตรฐานสากล นำเสวนาโดย ผู้แทนจากสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
จาก “โรคจิต” มาเป็น “ความผิดปกติ” คิดอย่างไร? นำเสวนาโดย - รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล - สามารถ มีเจริญ ผู้ได้รับเอกสารบันทึกผลการตรวจเลือก(เอกสาร สด.43) ระบุว่า ” โรคจิต” ดำเนินรายการโดย นัยนา สุภาพึ่ง
16.000-16.30 น. แสดงความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมเสวนา
16.30 น. สรุป ปิดการเสวนา - อยู่ระหว่างประสานงาน
สอบถามรายละเอียดได้ที่ จันทร์จิรา บุญประเสริฐ 02 868-4344 หรือ 081 423-6896 หรือ TKFthai@gmail.com |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น